ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ของพืช

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ของพืชใบ(Leaf)

ชนิดของใบ

  1. ใบเดี่ยว(simple leaf)

  2. ใบประกอบ(compound leaves)

    ใบประกอบแบบขนนก(pinnately compound leaves)
    ใบประกอบแบบขนนกปลายคี่(odd – pinnate)
    ใบประกอบแบบขนนกปลายคู่(even – pinnate)
    ใบประกอบแบบขนนกสองชั้น
    (bi-pinnately compound leaves)
    ใบประกอบแบบขนนก2-3ชั้น
    (bi-tri pinnately compund leaves)

    ใบประกอบแบบนิ้วมือ
    (palmately compound leaves)
  3. การเรียงตัวของใบ(Leaf arrangement)

    เรียงสลับ (alternate)
    เรียงตรงข้าม(opposite)
    เรียงเป็นวงรอบ(whorl)
    เรียงตรงข้ามสลับตั้งฉาก
    (decussate)
    เรียงเวียนสลับ
    (spiral)

    เรียงสลับระนาบเดียว
    (distichous)
  4. รูปร่างใบ(Leaf shape)

    รูปเข็ม(acicular)
    รูปแถบ(linear)
    รูปขอบขนาน(oblong)
    รูปใบหอก(lanceolate)
    รูปใบหอกกลับ(oblanceolate)
    รูปรี(elliptic)
    รูปไข่(ovate)
    รูปไข่กลับ(obovate)
    รูปสามเหลี่ยม(deltoid)
    รูปสี่เหลี่ยมข้าวหลามตัด
    (rhomboidal)
    รูปไต(reniform)

    รูปวงกลม(orbicular)
  5. ปลายใบ(Leaf apex)

    เป็นติ่งแหลม(cuspidate)
    เว้าตื้น(emarginate)
    เป็นติ่งหนามสั้น(mucronulate)
    เว้าลึกหรือรูปหัวใจกลับ
    (obcordate)
    มน(obtuse)
    เว้าบุ๋ม(retuse)
    ตัด (truncate)

    กลมมน(rounded)
  6. โคนใบ(Leaf base)

    สอบเรียว(attenuate)
    รูปติ่งหู(auriculate)
    รูปเงี่ยงลูกศร(sagittate)
    รูปหัวใจ(cordate)
    สอบ(acute)
    รูปสอบ/ลิ่ม(cuneate)
    รูปเงี่ยงใบหอก(hastate)
    มน(obtuse)
    ตัด(truncate)

    แบบก้นปิด(peltate)
  7. ขอบใบ(Leaf margin)

    เป็นขนครุย(ciliate)
    หยักมน(crenate)
    จักซี่ฟัน(dentate)
    จักฟันเลื่อยซ้อน(biserrate)
    เรียบ(entire)
    จักลึก(incised)
    หยัก(lobed)
    มีหนาม(spinose)
    หยักหนาม(spinose lacerate)
    เป็นแฉก(lobed)
    หยักแบบขนนก(pinnatifid)
    จักฟันเลื่อย(serrate)
    จักฟันเลื่อยถี่(serrulate)
    เป็นคลื่น(undulate)

    จักซี่หวี(pectinate)

ชนิดของดอก (flower)

ส่วนต่างๆของดอกไม้ Part of the flower

ดอกออกเป็นดอกเดี่ยว(flower)
ดอกออกเป็นดอกเดี่ยว(flower)
ดอกออกเป็นช่อ
(inflorescence)
ช่อแบบกระจุกแน่น(head)
ช่อแบบหางกระรอก(catkin)
ช่อเชิงหลั่น(corymb)
ช่อกระจุก(cyme)
ช่อกระจุกซ้อน(dichasium)
ช่อกระจุกแยกแขนง
(cymose panicle or thyrse)
ช่อแยกแขนง(panicle)
ช่อกระจะ(raceme)
ช่อเชิงลดมีกาบ(spathe)
ช่อเชิงลด(spike)
ช่อซี่ร่ม(umbel)
ช่อฉัตร(verticillasters)
ช่อซี่ร่มย่อย(compound umbel )
ช่อซี่ร่มแยกแขนง(branched umbel)

ชนิดของผล(fruit)

ผลสด(fleshy fruit)

ผลเมล็ดเดียวแข็ง(drupe)
ผลแบบมีเนื้อหลายเมล็ด(berry)
ผลแบบแอปเปิ้ล(pome)
ผลแบบส้ม(hesperidium)
ผลแบบแตง(pepo)
ผลรวม(multiple fruit)
ผลกลุ่ม(aggregate fruit)

ผลแห้ง(dry fruit)

ผลแห้งเมล็ดล่อน(achene)
ผลเปลือกแข็งเมล็ดเดียว(nut)
ผลปีกเดียว(samara)
ผลเปลือกแข็งมีกาบรูปถ้วย(acorn)
ผลแห้งแตก(capsule)
ผลปีกเดียวแฝด(double samara)
ผลแห้งแตกแบบฝาเปิด(pyxidium)
ผลแตกตามช่อง(poricidal)
ฝัก(legume)
ผลแตกแบบผักกาด(silique)
ผลแตกสองครั้ง(schizocarp)
ผลแบบโคน(strobilus)

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *

Scroll to top